แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวทำบุญในช่วง เทศกาลกินเจ

          เทศกาลกินเจ ในทุกๆปีประเทศไทยจะมีการจัดเทศกาลกินเจเกิดขึ้น  ซึ่งในเทศกาลกินเจนิก็จะมีการทำบุญด้วยการงดเนื้อสัตว์  โดยปัจจุบันไม่ว่าจะเป็นคนจีนหรือคนไทยเชื้อสายจีนหรือแม้แต่คนไทย

ก็ร่วมทำบุญในช่วงเทศกาลกินเจกันเป็นจำนวนมากซึ่งถือว่าช่วงเวลาดังกล่าวนั้นเป็นช่วงของการรักษาศีลทำตัวให้สะอาดและบริสุทธิ์และโดยปกติแล้วเทศกาลกินเจจะมีการจัดขึ้นเป็นระยะเวลาติดต่อกันนานถึง 9 วันเลยทีเดียว

         ดังนั้นในบทความนี้เราจะพาไปแนะนำสถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่สามารถทำบุญได้ในช่วงเทศกาลกินเจนอกจากนี้ยังเป็นสถานที่ที่มีการจัดงานเกี่ยวกับเทศกาลกินเจมีอาหารเจเยอะแยะมากมายขายสำหรับคนที่ไม่กินเนื้อสัตว์ซึ่งเหมาะมากกับการเดินทางไปในช่วงเวลาที่มีการจัดเทศกาลกินเจขึ้นเพื่อที่เรานั้นจะได้หาอาหารกินได้อย่างไม่ยากลำบากสำหรับคนที่ต้องกินอาหารเจนั่นเอง 

       สำหรับการจัดงานเทศกาลกินเจนั้นไม่ใช่เพียงแค่เฉพาะภายในกรุงเทพฯเท่านั้นที่มีการจัดงานแม้แต่ตามต่างจังหวัดไม่ว่าจะเป็นจังหวัดในเขตภาคใต้หรือจังหวัดในเขตภาคเหนือรวมถึงจังหวัดในเขตภาคอีสานและภาคกลางจะมีการจัดสถานที่สำหรับการจัดงานเทศกาลกินเจกันเนื่องจากว่าผู้คนทั่วทั้งประเทศไทยนั้นหันมานิยมกินเจกันมากขึ้นนั่นเอง

     สำหรับสถานที่ที่เราจะยกตัวอย่างให้ไปเที่ยวงานในเทศกาลกินเจก็คือสมาคม 6 ส้ม 6 ทิ้งซึ่งสมาคมนี้จะเป็นสมาคมที่เปิดขึ้นมาเพื่อส่งเสริมให้คนนั้นเกิดความรักความสามัคคีกันด้วยสมาคมนี้จะอยู่ในกรุงเทพฯซึ่งจะมีการจัดงานทำพิธีอัญเชิญเจ้ามาประทับที่โรงเจนอกจากนี้ก็ยังมีการกระทำพิธีลอยกระทงรวมถึงทำพิธีงานซิโก้และไหว้บรรพบุรุษและงานแจกทานทิ้งกระจาดอีกด้วยอย่างไรก็ตามการไปร่วมงานนั้นถึงแม้ว่าเราจะไม่ใช่คนในพื้นที่แต่ก็สามารถไปร่วมงานได้ซึ่งทางสมาคมนั้นก็จะมีการทำพิธีส่งเจ้าสู่สวรรค์ด้วย   นอกจากนี้ภายในงานนั้นยังมีของกินเยอะแยะมากมายเลยทีเดียว 

          อย่างไรก็ตามสถานที่ที่เราขาดไม่ได้เลยนั่นก็คือสถานที่ที่จัดใจกลางกรุงเทพฯอย่างเยาวราชเพราะในทุกๆปีนั้นที่เยาวราชจะมีการจัดประเพณีเทศกาลกินเจกันโดยสถานที่ในการจัดงานนั้นจะอยู่ตรงถนนเยาวราชเขตสัมพันธวงศ์ซึ่งจะจัดตรงบริเวณซุ้มประตูเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระบรมสาโดยภายในงานนั้นจะมีร้านค้ามากกว่า 100 ล้าน

มาตั้งบูธเพื่อจำหน่ายอาหารเจนอกจากนี้ภายในงานยังมีพิธีกรรมและพิธีการต่างๆเยอะแยะมากมายให้เราไปร่วมกิจกรรมกันซึ่งบริเวณเยาวราชนั้นมีศาลเจ้าและวัดจีนเยอะแยะมากมายเต็มไปหมดดังนั้นนอกจากนักท่องเที่ยวจะเดินทางไปทานอาหารเจรสชาติอร่อยแล้วก็ยังสามารถไปทำบุญไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์เพื่อเสริมบารมีให้กับตนเองและคนในครอบครัวได้ 

 

สนับสนุนเนื้อหาโดย    ทางเข้า ufabet ภาษาไทย

Continue Reading

ประเพณีลอยกระทงในสมัยโบราณ

          สำหรับประเพณีลอยกระทงที่เราเห็นกันอยู่ในปัจจุบันนั้นจะเป็นการสร้างกระทงขึ้นมาและลอยใครลอยมันหรือบางคนอาจจะลอยเป็นคู่แล้วแต่ละจังหวัดนั้นก็จะมีการสร้างถนนขนาดใหญ่ประจำจังหวัดเพื่อนำมาลอยในแม่น้ำทำให้เกิดความสวยงามและเป็นการดึงดูดนักท่องเที่ยวให้เดินทางมาเที่ยวที่จังหวัดนั้นน่ะ

         แต่เคยมีใครรู้หรือไม่ว่าประเทศไทยวันลอยกระทงที่มีมานานหลายร้อยปีมานั้นเริ่มแรกเดิมทีนั้นมีการลอยกระทงกันแบบไหนลักษณะการลอยกระทงของคนโบราณเขาลอยกันอย่างไรวันนี้เราจะมาหาคำตอบในเรื่องนี้กัน

       อย่างที่เรารู้กันดีว่าประเพณีลอยกระทงนั้นเกิดขึ้นมาตั้งแต่สมัยของกรุงรัตนโกสินทร์ซึ่งเป็นกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นเลยทีเดียวโดยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นนั้นก็จะประกอบไปด้วยสมัยของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 1 ถึงพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในรัชกาลที่ 3 ซึ่งในช่วงเวลาดังกล่าวนั้นการลอยกระทงของในสมัยนั้นเป็นการลอยกระทงของพระมหากษัตริย์เป็นหลักดังนั้นการทำกระทงจึงเป็นการกระทงขนาดใหญ่โดยขุนนางและข้าราชบริพารต่างก็พากันแข่งขันการสร้างกระทงขึ้นมาเพื่อประกวดกันว่ากระทงของใครจะมีความสวยงามมากกว่ากัน

           และนี่เองที่เป็นสาเหตุให้ภายหลังมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของการลอยกระทงเนื่องจากว่าในช่วงรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 3 นั้นการทำกระทงขึ้นมาเป็นการเน้นการแข่งขันเพื่อความสวยงามดังนั้นจึงมีการใช้เงินและสิ้นเปลืองวัตถุดิบในการสร้างกระทงเป็นอย่างมากต่อมาในสมัยหลังรัชกาลที่ 4 จึงได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการลอยกระทงใหม่โดยพระองค์ทรงประกาศไม่ให้มีการจัดการแข่งขันการสร้างกระทงขนาดใหญ่เหมือนกันเพราะพระองค์หวังว่าจะให้แต่ละคนนั้นช่วยกันประหยัดสิ่งที่พระองค์รับสั่งให้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการลอยกระทงต่อมานั่นก็คือพระองค์ทรงให้มีการสร้างกระทงขนาดใหญ่เพียงแค่อันเดียวเท่านั้นหลังจากนั้นก็นำไปลอยกลางแม่น้ำ

                ซึ่งเราเรียกกระทงนี้ว่าเรือลอยประทีปลอยกระทงจะมีการตกแต่งไว้อย่างสวยงามและมีการลอยเพียงแค่อันเดียวเท่านั้นในแม่น้ำ  แต่อย่างไรก็ตามหลังจากสิ้นสุดของรัชกาลที่ 4 และเริ่มต้นรัชกาลที่ 5 รวมถึงรัชกาลที่ 6 ก็มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของการลอยกระทงกันใหม่อีกครั้งหนึ่งและพอมาถึงสมัยของรัชกาลที่ 9 พระองค์ก็ทรงตรัสให้ประชาชนนั้นสามารถลอยกระทงแบบไหนก็ได้ตามอัธยาศัยของประชาชนโดยไม่มีข้อจำกัดว่าประชาชนจะต้องทำกระทงขนาดเล็กหรือขนาดใหญ่ซึ่งสามารถจะทำรูปแบบไหนก็ได้เพื่อความสวยงามและความถูกใจของประชาชนเองและเป็นที่มาของการลอยกระทงขนาดเล็กและมีรูปทรงของกระทงที่แตกต่างกันออกไปในปัจจุบันนั้นนั่นเอง

 

สนับสนุนโดย  ufabet เว็บแม่

Continue Reading